Blog

เสียง สะท้อน ตัวตน ของคุณ ใช้เสียง พัฒนา ตัวตน ของคุณ

เดือนกันยายน ปี 2559 ผมได้เดินทางไป Europe Enneagram Conference ที่ฟินแลนด์ เพื่ออัพเดทความรู้เอ็นเนียแกรม ในครั้งนั้น ได้ฟังการนำเสนอเรื่อง Voice & Enneagram จากคุณ ซินเธีย ไธย ซึ่งเป็นโค้ชด้านเสียง และศึกษาเอ็นเนียแกรมมานาน จนใช้ 2 เรื่องนี้ควบคู่กัน (more…)

Continue Reading

บทเรียนจากการใช้ เอ็นเนียแกรม ในองค์กรอย่างประสบความสำเร็จ (2/2)

การใช้เอ็นเนียแกรมในบริษัทชั้นนำ ผลจากการสัมภาษณ์ชี้ว่า มีการประยุกต์ใช้ เอ็นเนียแกรม ในการทำงานมากกว่า 25 ด้าน โดยที่ 10 อันดับแรกที่นิยมมากที่สุด ได้แก่ 1 การสื่อสาร (more…)
Continue Reading

บทเรียนจากการใช้ เอ็นเนียแกรม ในองค์กรอย่างประสบความสำเร็จ (1/2)

ในปี 2011 EIBN (The Enneagram in  Business Network) ซึ่งผมเป็นสมาชิกรุ่นก่อตั้ง ได้จัดทำ Benchmark Study เพื่อศึกษาแนวทางการใช้เอ็นเนียแกรมในองค์กร ให้ประสบความสำเร็จ โดยเราสำรวจจาก 72 บริษัททั่วโลก  ในนั้นมี ธนาคารไทย 2 แห่งซึ่งเป็นลูกค้าของเรา ได้ร่วมให้ข้อมูลด้วย บริษัทเหล่านี้ ได้ใช้เอ็นเนียแกรมอย่างจริงจัง โดยมีวัตถุประสงค์สำคัญเช่น (more…)
Continue Reading

หากไม่กล้า แสดงความเห็นต่าง หรือจัดการความขัดแย้งที่มี ก็ยากที่จะเกิดทีมเวิร์ค

หากขาดความไว้วางใจกันในทีม  ปัญหาลูกโซ่ที่ตามมาคือ  คนในทีมจะไม่กล้าแสดงความเห็นต่าง รวมทั้งกลัวที่จะขัดแย้งในเรื่องต่างๆ กับคนอื่นในทีม เรื่องนี้อาจขัดความรู้สึกนึกคิดของคนไทย ที่เชื่อว่า ความขัดแย้งเป็นสิ่งไม่ดี เราจึงมีธรรมเนียมของการทำตัวกลมกลืน พูดจารักษาหน้า ไม่ขัดแย้งก้น แม้ในใจจะไม่ได้รู้สึกเช่นนั้น จึงไม่แปลก ที่เรามักพูดกันบ่อยๆ ว่า คนไทยกันเป็นทีม ไม่ได้เก่งเหมือนชาวตะวันตก (more…)
Continue Reading

หาก ขาดความไว้วางใจกัน (Trust) ก็ยากที่จะเกิด ทีมเวิร์ค

ความไว้วางใจ เป็นปัจจัยสำคัญอันดับต้นๆ ของการทำงานร่วมกัน  ในบล็อกก่อน เราได้พูดถึง สาเหตุสำคัญที่หัวหน้าไม่สามารถทำให้ลูกน้องไว้วางใจได้ รวมทั้งแนวทางแก้ไข คราวนี้ เรามาลองดูว่า ถ้าทีมผู้บริหารระดับสูง ขาดความไว้วางใจ จะเป็นอย่างไร (more…)
Continue Reading

อยากให้ลูกน้องไว้วางใจ ก็ต้องแสดงให้เห็นว่า คุณไว้วางใจเขาก่อน

พนักงานในองค์กรจำนวนมากบอกว่า รู้สึกหัวหน้าไม่ค่อยไว้ใจพวกเขา  ซึ่งผลเสียที่ตามมาคือ ผลงานตกต่ำลง และรู้สึกไม่ค่อยผูกพันกับองค์กร   หัวหน้างานจึงต้องแสดงออกถึงความไว้วางใจในตัวลูกน้อง ให้เห็นอย่างสม่ำเสมอ ผลการศึกษากับองค์กรหลายแห่งในระยะเวลามากกว่า 10 ปี พบว่า พนักงานที่รู้สึกไม่ได้รับความไว้วางใจจากหัวหน้า จะทุ่มเทน้อยลง ผลงานตกต่ำลง และมีความเป็นไปได้ที่จะลาออกมากขึ้น (more…)
Continue Reading

พฤติกรรม หรือการแสดงบทบาทของคนแต่ละเบอร์ เวลาประชุมทีม

คนแต่ละเบอร์มักแสดงพฤติกรรมต่างๆ ตามรูปแบบที่ตนถนัดซ้ำๆ ไม่ว่าจะเป็นสไตล์การทำงาน  การสื่อสาร ภาษากาย วิธีบริหารลูกน้อง ฯลฯ เวลาทำงานเป็นทีม คนแต่ละเบอร์ก็เป็นแบบนี้เช่นกัน เห็นได้ชัด เวลาประชุม  แต่ละคนก็มักแสดงบทบาทที่ถนัด ดังที่สรุปไว้ในรูปข้างบน (more…)
Continue Reading

บทบาทในทีม (Team Roles) ที่ช่วยหรือทำลายทีมงาน

เห็นคำว่า บทบาทในทีม หลายคนอาจคิดว่า เป็นบทบาทที่เป็นไปตามตำแหน่งหน้าที่ ซึ่งได้รับมอบหมาย เช่น หัวหน้าทีม ฝ่ายวิเคราะห์ ฝ่ายบัญชี  เลขานุการ ฯลฯ แต่ที่จริงแล้ว Team Roles หรือบทบาทในทีม ในเรื่องทีมงาน หมายถึง พฤติกรรมต่างๆ ที่แต่ละคนมักแสดงออกเมื่อทำงานกันเป็นทีม ตัวอย่างหนึ่งที่เห็นได้ชัดคือ เวลาประชุมทีมงานกัน (more…)
Continue Reading

ทำงานเป็นทีม คุณต้องรู้ว่า ทีมของคุณอยู่ขั้นไหนแล้ว

การทำงานในปัจจุบัน จะมีลักษณะของทีม มากขึ้น ก่อนอื่น เรามาทำความเข้าใจให้ชัดเจนก่อน ว่า ทีมคืออะไร ต่างจาก กลุ่ม (Group) ทั่วไปอย่างไร กลุ่ม  คือการรวมตัวกันของคนจำนวนหนึ่งซึ่งมีเป้าหมายร่วมกัน ส่วน ทีม  เป็นกลุ่มที่มีลักษณะเฉพาะ นอกจากจะมีเป้าหมายร่วมกันแล้ว  คนในทีมยังต้องทำงานกันแบบพึ่งพาอาศัยกัน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายด้วย (more…)
Continue Reading

องค์กรต้องยอมรับการเปลียนแปลง & ปรับตัวเพื่อให้รอด (สัมภาษณ์ กรุงเทพธุรกิจ 25 ม.ค. 61)

อ่านบทสัมภาษณ์ ดาวน์โหลด interview wajasit BKK Bisnews   หลักสูตรเอ็นเนียแกรม 1 วัน เร็วๆ นี้ (more…)
Continue Reading