เสียง สะท้อน ตัวตน ของคุณ ใช้เสียง พัฒนา ตัวตน ของคุณ

เดือนกันยายน ปี 2559 ผมได้เดินทางไป Europe Enneagram Conference ที่ฟินแลนด์ เพื่ออัพเดทความรู้เอ็นเนียแกรม ในครั้งนั้น ได้ฟังการนำเสนอเรื่อง Voice & Enneagram จากคุณ ซินเธีย ไธย ซึ่งเป็นโค้ชด้านเสียง และศึกษาเอ็นเนียแกรมมานาน จนใช้ 2 เรื่องนี้ควบคู่กัน

Read More →

บทเรียนจากการใช้ เอ็นเนียแกรม ในองค์กรอย่างประสบความสำเร็จ (2/2)

การใช้เอ็นเนียแกรมในบริษัทชั้นนำ ผลจากการสัมภาษณ์ชี้ว่า มีการประยุกต์ใช้ เอ็นเนียแกรม ในการทำงานมากกว่า 25 ด้าน โดยที่ 10 อันดับแรกที่นิยมมากที่สุด ได้แก่ 1 การสื่อสาร

Read More →

บทเรียนจากการใช้ เอ็นเนียแกรม ในองค์กรอย่างประสบความสำเร็จ (1/2)

ในปี 2011 EIBN (The Enneagram in  Business Network) ซึ่งผมเป็นสมาชิกรุ่นก่อตั้ง ได้จัดทำ Benchmark Study เพื่อศึกษาแนวทางการใช้เอ็นเนียแกรมในองค์กร ให้ประสบความสำเร็จ โดยเราสำรวจจาก 72 บริษัททั่วโลก  ในนั้นมี ธนาคารไทย 2 แห่งซึ่งเป็นลูกค้าของเรา ได้ร่วมให้ข้อมูลด้วย บริษัทเหล่านี้ ได้ใช้เอ็นเนียแกรมอย่างจริงจัง โดยมีวัตถุประสงค์สำคัญเช่น

Read More →

หากไม่กล้า แสดงความเห็นต่าง หรือจัดการความขัดแย้งที่มี ก็ยากที่จะเกิดทีมเวิร์ค

หากขาดความไว้วางใจกันในทีม  ปัญหาลูกโซ่ที่ตามมาคือ  คนในทีมจะไม่กล้าแสดงความเห็นต่าง รวมทั้งกลัวที่จะขัดแย้งในเรื่องต่างๆ กับคนอื่นในทีม เรื่องนี้อาจขัดความรู้สึกนึกคิดของคนไทย ที่เชื่อว่า ความขัดแย้งเป็นสิ่งไม่ดี เราจึงมีธรรมเนียมของการทำตัวกลมกลืน พูดจารักษาหน้า ไม่ขัดแย้งก้น แม้ในใจจะไม่ได้รู้สึกเช่นนั้น จึงไม่แปลก ที่เรามักพูดกันบ่อยๆ ว่า คนไทยกันเป็นทีม ไม่ได้เก่งเหมือนชาวตะวันตก

Read More →

หาก ขาดความไว้วางใจกัน (Trust) ก็ยากที่จะเกิด ทีมเวิร์ค

ความไว้วางใจ เป็นปัจจัยสำคัญอันดับต้นๆ ของการทำงานร่วมกัน  ในบล็อกก่อน เราได้พูดถึง สาเหตุสำคัญที่หัวหน้าไม่สามารถทำให้ลูกน้องไว้วางใจได้ รวมทั้งแนวทางแก้ไข คราวนี้ เรามาลองดูว่า ถ้าทีมผู้บริหารระดับสูง ขาดความไว้วางใจ จะเป็นอย่างไร

Read More →

อยากให้ลูกน้องไว้วางใจ ก็ต้องแสดงให้เห็นว่า คุณไว้วางใจเขาก่อน

พนักงานในองค์กรจำนวนมากบอกว่า รู้สึกหัวหน้าไม่ค่อยไว้ใจพวกเขา  ซึ่งผลเสียที่ตามมาคือ ผลงานตกต่ำลง และรู้สึกไม่ค่อยผูกพันกับองค์กร   หัวหน้างานจึงต้องแสดงออกถึงความไว้วางใจในตัวลูกน้อง ให้เห็นอย่างสม่ำเสมอ ผลการศึกษากับองค์กรหลายแห่งในระยะเวลามากกว่า 10 ปี พบว่า พนักงานที่รู้สึกไม่ได้รับความไว้วางใจจากหัวหน้า จะทุ่มเทน้อยลง ผลงานตกต่ำลง และมีความเป็นไปได้ที่จะลาออกมากขึ้น

Read More →

พฤติกรรม หรือการแสดงบทบาทของคนแต่ละเบอร์ เวลาประชุมทีม

คนแต่ละเบอร์มักแสดงพฤติกรรมต่างๆ ตามรูปแบบที่ตนถนัดซ้ำๆ ไม่ว่าจะเป็นสไตล์การทำงาน  การสื่อสาร ภาษากาย วิธีบริหารลูกน้อง ฯลฯ เวลาทำงานเป็นทีม คนแต่ละเบอร์ก็เป็นแบบนี้เช่นกัน เห็นได้ชัด เวลาประชุม  แต่ละคนก็มักแสดงบทบาทที่ถนัด ดังที่สรุปไว้ในรูปข้างบน

Read More →

บทบาทในทีม (Team Roles) ที่ช่วยหรือทำลายทีมงาน

เห็นคำว่า บทบาทในทีม หลายคนอาจคิดว่า เป็นบทบาทที่เป็นไปตามตำแหน่งหน้าที่ ซึ่งได้รับมอบหมาย เช่น หัวหน้าทีม ฝ่ายวิเคราะห์ ฝ่ายบัญชี  เลขานุการ ฯลฯ แต่ที่จริงแล้ว Team Roles หรือบทบาทในทีม ในเรื่องทีมงาน หมายถึง พฤติกรรมต่างๆ ที่แต่ละคนมักแสดงออกเมื่อทำงานกันเป็นทีม ตัวอย่างหนึ่งที่เห็นได้ชัดคือ เวลาประชุมทีมงานกัน

Read More →

ทำงานเป็นทีม คุณต้องรู้ว่า ทีมของคุณอยู่ขั้นไหนแล้ว

การทำงานในปัจจุบัน จะมีลักษณะของทีม มากขึ้น ก่อนอื่น เรามาทำความเข้าใจให้ชัดเจนก่อน ว่า ทีมคืออะไร ต่างจาก กลุ่ม (Group) ทั่วไปอย่างไร กลุ่ม  คือการรวมตัวกันของคนจำนวนหนึ่งซึ่งมีเป้าหมายร่วมกัน ส่วน ทีม  เป็นกลุ่มที่มีลักษณะเฉพาะ นอกจากจะมีเป้าหมายร่วมกันแล้ว  คนในทีมยังต้องทำงานกันแบบพึ่งพาอาศัยกัน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายด้วย

Read More →